วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
ครั้งที่ 16 วันที่ 4 ธันวาคม  2557

ความรู้ที่ได้รับในการเรียน
การนำเสนองานวิจัย (Research Report)
งานวิจัยเรื่อง การส่งเสริมทักษะวิทยาศาสตร์การลงสรุปสำหรับเด็กปฐมวัย
 ผู้วิจัย        นงลักษณ์ บุญระชัยสวรรค์
 กิจกรรมไข่หมุน
- ทักษะวิทยาศาสตร์  การสังเกตและการเปรียบเทียบ   

เมื่อนำเสนอวิจัยเสร็จ อาจารย์ก็ให้นักศึกษาทำแผ่นพับ โดยแบ่งกลุ่มตามแผ่น ข่าวประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ปกครอง เกี่ยวกับเรื่องที่นักเรียนกำลังเรียนที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ต่างๆให้เพียงพอโดยครูควรมีการประชาสัมพันธ์กับผู้ปกครองอย่างไร ในการขอความร่วมมือในการจัดทำกิจกรรมในครั้งนี้

เทคนิควิธีการสอน (Teaching Methods)
1. การใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้นักศึกษาเกิดกระบวนการคิด
2.  การเรียนรู้ด้วยตนเองลงมือทำด้วยตนเอง
3. การให้ฝึกให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์

การนำไปประยุกต์ใช้  (Applied)
1. สามารถนำเทคนิคการจัดกิจกรรมต่างๆไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้อย่างถูกต้อง
2.  มีเทคนิคในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์วิทยาศาสตร์
3.  สามารถจัดให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมของเด็กได้โดยการขอความอนุเคราะห์ขออุปกรณ์ในการทำกิจกรรมต่างๆ



บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
ครั้งที่ 15 วันที่ 27 พฤศจิกายน  2557


 ความรู้ที่ได้รับในการเรียน (Knowle)
วันนี้ได้เริ่มเรียนโดยการนำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูเพื่อนได้สรุปวิจัยและโทรทัศน์มานำเสนอให้เพื่อนในห้องได้ฟังดังนี้

การนำเสนองานวิจัย (Research Report)
งานวิจัยเรื่องที่1 การสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  ทักษะทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผ่านประสาทสัมผัส มี 4 ทักษะ
          - การสังเกต
          - การจำแนก
          - การวัด
          - มิติสัมพันธ์

 งานวิจัยเรื่องที่2 ผลการจัดประสบการณ์เน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
-ทักษะทางวิทยาศาสตร์    การสังเกต   การประมาณ   การเปลี่ยนแปลง
-ครูแนะนำกิจกรรม ครูบอกเด็กว่าจะพาไปเที่ยวรอบโรงเรียนให้เด็กส่องสิ่งที่มองเห็น
- ครูให้เด็กส่องดูผ่านแว่นแล้วมองดูผ่านตา
- ครูให้เด็กวาดภาพ จากสิ่งที่มองเห็น
- ครูใช้คำถาม เด็กมองเห็นวัตถุของจริง เด็กมองเห็นเป็นอย่างไร และเด็กมองผ่านแว่นเป็นอย่างไร

งานวิจัยเรื่องที่3 การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การคิดเชิงเหตุผล มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และเป็นทักษะพื้นฐาน
-เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชิงเหตุผลมี 3 อย่างคือ
-การจำแนกประเภท
- การจัดประเภท
- ด้านอนุกรม
-หน่วยสนุกน้ำ
-หน่วยอากาศแสนสนุก
-หน่วยพืชน่ารู้
-หน่วยพลังงานแสนกล
-หน่วยเรียนรู้ธรรมชาติ
-หน่วยฉันคือใคร

 งานวิจัยเรื่องที่4 ผลของกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้านการจำแนก
-ทักษะทางวิทยาศาสตร์  การสังเกต การจำแนก การวัด การสื่อความหมาย การลงความเห็น  มิติสัมพันธ์

การนำเสนอโทรทัศน์ครู
1.   เรื่อง เสียงมาจากไหน
2.   เรื่อง สอนวิทย์ คิดสนุกกับเด็กปฐมวัย
3.   เรื่อง เรียนวิทยาศาสตร์สนุก
4.  เรื่อง หน่วยไฟ
5.  เรื่อง  ขวดปั๊มและลิปเทียน
6.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง สีของกะหล่ำปลี
7.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง พลังจิตคิดไม่ซื่อ
8.  นมสีจากน้ำยาล้างจานสำหรับเด็กปฐมวัย
9.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง  ทะเลฟองสีรุ้ง
10.  สนุกคิดวิทย์ทดลอง
11.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง ทอนาโดมหาภัย
12.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง  ความลับของใบบัว
13.  การทดลองความแข็งของวัตถุ


เทคนิควิธีการสอน (Teaching Methods)
1. การใช้คำถามปลายเปิด
2. การเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. การให้ฝึกให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์

การนำไปประยุกต์ใช้  (Applied)
1. สามารถนำวิจัยและโทรทัศน์ครูที่เพื่อนได้ออกมานำเสนอไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่สอดแทรกทักษะวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี
2. สามารถนำเทคนิคการจัดกิจกรรมในวิจัยและโทรทัศน์ครูที่เพื่อนได้ออกมานำเสนอไปจัดให้เหมาะสมกับเด็กได้เป็นอย่างดี

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

ครั้งที่ 14 วันที่ 20 พฤศจิกายน  2557
ความรู้ที่ได้รับในการเรียน

         การเรียนในวันนี้ก่อนนำเสนองานวิจัยมีกิจกรรมการแยกประเภทของสื่อการสอน และมี ประเภทดังนี้
-แรงลม (wind power)
-การหมุน (rotation)
-พลังงาน (energy)
-น้ำ (water)
-เสียง (sound)
-มุมเสริมประสบการณ์

การนำเสนองานวิจัย (Research Report)
1.งานวิจัยเรื่อง การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานผ่านกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
-  จัดโดยผ่านกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้คิด
 ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กจะได้รับจากกิจกรรม
-  การจำแนก
-  การวัด
-  มิติสัมพันธ์
-  การลงความเห็น
-  กางสังเกต
-  การสื่อสาร
  กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
-ศิลปะเลียนแบบ
-ศิลปะปรับภาพ
-ศิลปะบูรณาการ
-ศิลปะค้นหา
-ศิลปะภาพเหมือน
-ศิลปะย้ำ
2. งานวิจัยเรื่อง ผลการประกอบประสบการณ์วิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย

3. งานวิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้เพื่อพัฒนาทักษะการจำแนกของเด็กปฐมวัย
 -จัดกิจกรรมเป็นหน่วยการเรียนรู้
ทักษะการจำแนก
       การจัดกลุ่มหาลำดับ เรียงลำดับ  การหามิติสัมพันธ์ สถานที่ต่างๆ สิ่่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก โดยมีเกณฑ์ความเหมือนความต่าง ใช้เครื่องมือวัด คือแบบการประเมินทักษะการจำแนก
4. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-การสังเกต
-การจำแนก
-การสื่อความหมาย
-มิติสัมพันธ์

 สรุปความรู้ที่ได้จากการนำเสนองานวิจัย
-ได้รับความรู้ใหม่ๆ ที่นอกเหนือจากที่อาจารย์สอน
-ได้รู้ทางวิทยาศาสตร์กิจกรรมที่หลากหลาย
-นำกิจกรรมหรือวิธีการทดลองจากงานวิจัยไปจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้จริง
-ได้รู้จักแผนการสอนที่หลากหลายและสามารถนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้

กิจกรรมการทำวาฟเฟิล (Waffle)
อุปกรณ์มีดังนี้
-แป้ง (flour)
-ไข่ (eggs)
-เนย (butter)
-เตา (stove) สำหรับทำ waffle
-ถ้วย (cup)
-จาน (plate)
-ช้อน (spoon)
-น้ำ (water)

ขั้นตอนการทำ
-แบ่งกลุ่มให้เท่าๆกัน
-ครูเตรียมอุปกรณ์ในการทำและแบ่งอุปกรณ์เป็นชุดๆ
-ขอตัวแทนมาหยิกอุปกรณ์ที่ครูเตรียมไว้
-ครูบอกขั้นตอนการทำ ถ้าเป็นเด็กปฐมวันก็ต้องสาธิตให้ดู
-ตอกใข่(eggs)และเนย(butter)ใส่ลงไปในถ้วยแล้วตีไข่(eggs)ให้เป็นเนื้อเดียวกัน
-เทแป้ง(flour)ใส่ลงไปแล้วค่อยตีให้เป็นเนื้อเดียวกัน เติมน้ำ(water)ตามความเหมาะสม
-ตักใส่ถ้วย(stove)เล็กเพื่อนที่จะนำไปใส่เครื่องทำขนม
 -ทาเนย (butter)แล้วเทแป้งลงไปข้างละ 1 ถ้วย(cup) ถึง 1 ถ้วย(cup)ครึ่ง
 -มื่อถึงเวลาก็นำออกจากเครื่องใส่จาน (plate)แล้วทานได้เลย

การนำไปประยุกต์ใช้
1. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆ
2. สามารนำกิจกรรมไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้จริง
3. นำเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยผ่านกิจกรรมต่างๆ

เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์
1. การค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง
2. การใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอน
3. การใช้คำถามเพื่อให้เกิดกระบวนการคิด


บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
ครั้งที่ 13 วันที่ 13 พฤศจิกายน  2557

  ความรู้ที่ได้รับในการเรียน
การเรียนการสอนในวันนี้เป็นการนำเสนองานวิจัย เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มีผลงานวิจัยที่เพื่อนออกมานำเสนอต่อไปนี้
-เด็กขาดทักษะการสังเกต จากการตอบคำถาม จึงเกิดวิจัยเรื่องนี้ขึ้นมา
-ใช้เกมการศึกษา  
1.จับคู่ภาพเหมือน
2.จับคู่เงา
3.เกมการสังเกต
4.ภาพตัดต่อ
    
-เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์
- ใช้กิจกรรมการทดลองหลังจากฟังนิทาน
เครื่องมือ
- แผนการจัดกิจกรรม
- แบบทดสอบ

-  ศึกษาเด็กปฐมวัยที่เรียนรู้แบบนักวิจัย
ศึกษาเด็กปฐมวัยที่เรียนรู้แบบนักวิจัยก่อนทดลองและหลังทดลอง

- สอนในชั่วโมงเสริมประสบการณ์
-สีที่ได้มาจากธรรมชาติ
-สอนจากแผนการจัดประสบการณ์
-ได้รับทักษะการสังเกต การจำแนก  มิติสัมพันธ์  การลงความเห็น

 5. งานวิจัยเรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ที่มุ่งเน้นกระบวนการและปกติ
 มุ่งเน้นกระบวน
-  เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติทุกขั้นตอนโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
-เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมและการเตรียมอุปกรณ์ทุกขั้นตอน
 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   
-การสังเกต
-การจำแนก
-การวัดปริมาณ
-มิติสัมพันธ์
-  การลงความเห็น

- เด็กบอกลายละเอียดได้
-การใช้เหตุผล
-การวิเคราะห์
-คิดความเหมือนความต่าง
-การสังเกต
-เด็กเป็นผู้ทดลองเองลงมือปฏิบัติ
-ให้เด็กได้ลงมือกระทำโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
-หลังจากการทดลองเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมโดยครูใช้คำถามเชื่อมโยง

เครื่องมือที่ใช้
- แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
-  แบบทดสอบ 4 แบบ มีรูปภาพเสมือนจริง
-หลังจากการทดลองครูให้เด็กทำแบบทดสอบ ผลปรากฏว่าหลังการทดลองเด็กมีความสามารถทางด้านความคิดอย่างมีเหตุผลอย่างเห็นได้ชัด

สรุปความรู้ที่ได้จากการนำเสนองานวิจัย
1. ได้รู้ถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
2.  มีแนวทางในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
3. สามารถนำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้จริง  
4. มีการวางแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่หลากหลาย

การนำไปประยุกต์ใช้
1.  สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในรายวิชาอื่นๆ
2. สามารนำกิจกรรมไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้จริง
3. นำเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยผ่านกิจกรรมต่างๆ
4. หากครูจะส่งเสริมพัฒนาการในด้านใดของเด็กสามารถนำกิจกรรมจากงานวิจัยมาจัดกิจกรรมสำหรับเด็กได้

เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์
1. การค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง
2. การใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอน
3. การใช้คำถามเพื่อให้เกิดกระบวนการคิด